บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
วัน/เดือน/ปี 6 มีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 8 กลุ่มเรียน 102
เวลาเข้าเรียน 08:30 - 10:10 น. ห้อง 442 และเวลา 12:20 - 15:00 น. ห้อง 223
1. ถั่วซีกเลาะเปลือก 1/2 โล
2. นำ้ตาลทราย 1/2 โล
3. ผงวุ้น 1 ห่อ
4. หม้อไฟฟ้า
5. ทัพพี/ตะหลิว
6. กะทิ
ภาพที่ 2 ใส่น้ำเปล่าลงไปในหม้อต้ม
ภาพที่ 3 ปิดฝาหม้อรอน้ำเดือด
ภาพที่ 4 เมื่อน้ำเดือดคอยตักสีขาวๆออก
ต้มไปเรื่อยๆจนกว่าถั่วจะเปื่อย จากนั้นตักถั่วใส่ผ้าฝ้ายรอให้แห้งแล้วบีบให้น้ำออกมา แล้วนำไปตำหรือทุบให้ถั่วละเอียด
ภาพที่ 1 เทน้ำกะทิลงไปในหม้อ
ภาพที่ 2 เทน้ำตาลลงไปประมาณครึ่งกิโลกรัม หรือตามความชอบ
ภาพที่ 3 คนให้น้ำกะทิและน้ำตาลเข้ากัน
ภาพที่ 4 รอจนกว่าจะเดือด
ภาพที่ 5 พอเดือดค่อยๆตักถั่วลงไป
ภาพที่ 6 กวนถั่วให้เข้ากัน กวนไปเรื่อยๆให้แห้งจนกว่าเนื้อของมันสามารถปั้นได้ไม่ติดมือ
2. นำ้ตาลทราย
3. ผงวุ้น 1 ห่อ
4. ไม้เสียบลูกชิ้นหรือไม้จิ้มฟัน
5. สีผสมอาหาร สีตามชอบ
6. โฟม แผ่นหนา เอามารองเวลาเสียบลูกชุบ
7. อุปกรณ์ไฟฟ้า หม้อหุงข้าว หรือ หม้อไฟฟ้า หรือกระทะไฟฟ้า อย่างใดอย่างหนึ่งพร้อมปลักสามตา
8. จาน ถ้วยใส่สี
9. พู่กัน
วิธีทำ นำถั่วที่กวนเรียบร้อยแล้วมาปั้นเป็นรูปร่างต่างๆ เสร็จแล้วเสียบใส่ไม้เสียบลูกชิ้นหรือไม้จิ้มฟันก็ได้ จากนั้นผสมสีผสมอาหารสีที่ต้องการใส่จาน/ถ้วย และใช้พู่กันขนาดต่างๆจุ่มสีผสมอาหารตกแต่งลูกชุบให้มีสีสันสวยงาม
ภาพที่ 2 เทวุ้นผงลงไปพอประมาณ
ภาพที่ 3 เทน้ำตาลลงไปพอประมาณ
ภาพที่ 4 ใช้ช้อนกวนน้ำไปเรื่อยๆจนกว่าจะใช้ได้
ภาพที่ 5 เมื่อกวนใช้ได้น้ำจะออกสีใสๆ นำลูกชุบที่เราปั้นและลงสีเรียบร้อยแล้วจุ่มลงไปในหม้อหมุนไปมาให้ทั่วถึง
ภาพที่ 6 เมื่อจุ่มวุ้นเสร็จนำขึ้นมา จะสังเกตได้ว่ามันเป็นเงาๆ นำไปเสียบโฟมเพื่อให้วุ้นแห้ง (ถ้าอยากให้ลูกชุบเงาๆหนาๆก็จุ่มวุ้นกี่รอบก็ได้ตามต้องการ)
2. มีด 1 ด้าม
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมการทำลูกชุบไปสอนเด็กปฐมวัยในหน่วยการประกอบอาหาร และการพิมพ์ภาพด้วยวิธีการต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ได้เป็นอย่างดีอาจมีการสอนในรูปแบบอื่นๆที่แปลกใหม่การเพิ่มวัสดุที่หลากหลายแตกต่างออกไป และการเลือกวัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับงานและปลอดภัยกับเด็ก
ครั้งที่ 8 กลุ่มเรียน 102
เวลาเข้าเรียน 08:30 - 10:10 น. ห้อง 442 และเวลา 12:20 - 15:00 น. ห้อง 223
อุปกรณ์การกวนถั่วซีก
2. นำ้ตาลทราย 1/2 โล
3. ผงวุ้น 1 ห่อ
4. หม้อไฟฟ้า
5. ทัพพี/ตะหลิว
6. กะทิ
นำถั่วซีก ครึ่งกิโล ไปแช่น้ำประมาณ 5-10 ชั่วโมง แล้วนำมาต้ม
ภาพที่ 1 ใส่ถั่วลงไปในหม้อภาพที่ 2 ใส่น้ำเปล่าลงไปในหม้อต้ม
ภาพที่ 3 ปิดฝาหม้อรอน้ำเดือด
ภาพที่ 4 เมื่อน้ำเดือดคอยตักสีขาวๆออก
ต้มไปเรื่อยๆจนกว่าถั่วจะเปื่อย จากนั้นตักถั่วใส่ผ้าฝ้ายรอให้แห้งแล้วบีบให้น้ำออกมา แล้วนำไปตำหรือทุบให้ถั่วละเอียด
ภาพที่ 1 เทน้ำกะทิลงไปในหม้อ
ภาพที่ 2 เทน้ำตาลลงไปประมาณครึ่งกิโลกรัม หรือตามความชอบ
ภาพที่ 3 คนให้น้ำกะทิและน้ำตาลเข้ากัน
ภาพที่ 4 รอจนกว่าจะเดือด
ภาพที่ 5 พอเดือดค่อยๆตักถั่วลงไป
ภาพที่ 6 กวนถั่วให้เข้ากัน กวนไปเรื่อยๆให้แห้งจนกว่าเนื้อของมันสามารถปั้นได้ไม่ติดมือ
กิจกรรมที่ 1
อุปกรณ์ในการทำลูกชุบ
1. ถั่วซีกที่กวนเรียบร้อยแล้ว2. นำ้ตาลทราย
3. ผงวุ้น 1 ห่อ
4. ไม้เสียบลูกชิ้นหรือไม้จิ้มฟัน
5. สีผสมอาหาร สีตามชอบ
6. โฟม แผ่นหนา เอามารองเวลาเสียบลูกชุบ
7. อุปกรณ์ไฟฟ้า หม้อหุงข้าว หรือ หม้อไฟฟ้า หรือกระทะไฟฟ้า อย่างใดอย่างหนึ่งพร้อมปลักสามตา
8. จาน ถ้วยใส่สี
9. พู่กัน
บรรยากาศขณะทำลูกชุบ |
วิธีทำที่ชุบลูกชุบ
ภาพที่ 1 เทน้ำเปล่าลงไปในหม้อไฟฟ้าภาพที่ 2 เทวุ้นผงลงไปพอประมาณ
ภาพที่ 3 เทน้ำตาลลงไปพอประมาณ
ภาพที่ 4 ใช้ช้อนกวนน้ำไปเรื่อยๆจนกว่าจะใช้ได้
ภาพที่ 5 เมื่อกวนใช้ได้น้ำจะออกสีใสๆ นำลูกชุบที่เราปั้นและลงสีเรียบร้อยแล้วจุ่มลงไปในหม้อหมุนไปมาให้ทั่วถึง
ภาพที่ 6 เมื่อจุ่มวุ้นเสร็จนำขึ้นมา จะสังเกตได้ว่ามันเป็นเงาๆ นำไปเสียบโฟมเพื่อให้วุ้นแห้ง (ถ้าอยากให้ลูกชุบเงาๆหนาๆก็จุ่มวุ้นกี่รอบก็ได้ตามต้องการ)
นำใบแก้ว หรือใบไม้ต่างๆ มาประดับตกแต่งลูกชุบ จากนั้นจัดใส่จานให้สวยงาม
ลูกชุบ |
กิจกรรมที่ 2
งานพิมพ์ มีด้วยกัน 5 อย่าง ให้นักศึกษาเตรียมอุปกรณ์มาเป็นกลุ่มเช่นกัน
อุปกรณ์
1. ผักชนิดต่างๆ ที่มีอยู่ที่บ้านหรือจะไปซื้อเช่น ผักกาดขาว แครอท ข้าวโพด มันฝรั่ง หอมใหญ่ หัวใชเท้า อย่างละหัว2. มีด 1 ด้าม
(งานเดี่ยว)
พิมพ์ภาพจากวัสดุที่หาง่าย เช่น ฝาขวดน้ำ, ก้อนหิน, ใบไม้ต่างๆ |
พิมพ์ภาพจากวัสดุที่แกะสลัก เช่น แครอท, มันฝรั่ง ฯลฯ |
พิมพ์ภาพจากฟองน้ำ แบบหนา บาง หยาบ |
(งานกลุ่ม)
พิมพ์ภาพจากอวัยวะ เช่น มือ เท้า |
พิมพ์ภาพจากพืช เช่น ใบไม้ ดอก ผล ราก ฯลฯ |
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมการทำลูกชุบไปสอนเด็กปฐมวัยในหน่วยการประกอบอาหาร และการพิมพ์ภาพด้วยวิธีการต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ได้เป็นอย่างดีอาจมีการสอนในรูปแบบอื่นๆที่แปลกใหม่การเพิ่มวัสดุที่หลากหลายแตกต่างออกไป และการเลือกวัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับงานและปลอดภัยกับเด็ก
การประเมินผล
- การประเมินตนเอง - การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจทำลูกชุบมาก ชอบทาสีลูกชุบ แต่ไม่ชอบที่ลูกชุบเวลาปั้นบางอันแห้งเร็วเกินไปทำให้แตกง่าย และอันไหนที่ปั้นไม่แน่นเวลาทาสีจะยิ่งเห็นรอยแตกชัด ส่วนงานพิมพ์ภาพจากวัสดุต่างๆตั้งใจทำทุกชิ้น
- การประเมินเพื่อน - การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยถูกระเบียบ ทุกคนตั้งใจทำลูกชุบกันอย่างคึกคัก ทุกกลุ่มก็ปั้นเป็นรูปร่างแตกต่างกันออกไป การลงสีบางกลุ่มก็สีสด บางกลุ่มสีอ่อน(เพราะใส่น้ำเย็น)
- การประเมินอาจารย์ - การแต่งกายสะอาดสุภาพ มีการอธิบายวิธีทำงานแต่ละชิ้น มีอุปกรณ์เหมาะสมและเพียงพอ และคอยเดินดูคอยถามผลงานเด็กอยู่ตลอดเวลา มีกิจกรรมศิลปะหลากหลายรูปแบบดีๆมาให้ทำไม่ซ้ำกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น